A theme of the age, at least in the developed world, is that people crave silence and can find none. The roar of traffic, the ceaseless beep of phones, digital announcements in buses and trains, TV sets blaring even in empty offices, are an endless battery and distraction. The human race is exhausting itself with noise and longs for its opposite—whether in the wilds, on the wide ocean or in some retreat dedicated to stillness and concentration. Alain Corbin, a history professor, writes from his refuge in the Sorbonne, and Erling Kagge, a Norwegian explorer, from his memories of the wastes of Antarctica, where both have tried to escape.
And yet, as Mr Corbin points out in "A History of Silence", there is probably no more noise than there used to be. Before pneumatic tyres, city streets were full of the deafening clang of metal-rimmed wheels and horseshoes on stone. Before voluntary isolation on mobile phones, buses and trains rang with conversation. Newspaper-sellers did not leave their wares in a mute pile, but advertised them at top volume, as did vendors of cherries, violets and fresh mackerel. The theatre and the opera were a chaos of huzzahs and barracking. Even in the countryside, peasants sang as they drudged. They don’t sing now.
What has changed is not so much the level of noise, which previous centuries also complained about, but the level of distraction, which occupies the space that silence might invade. There looms another paradox, because when it does invade—in the depths of a pine forest, in the naked desert, in a suddenly vacated room—it often proves unnerving rather than welcome. Dread creeps in; the ear instinctively fastens on anything, whether fire-hiss or bird call or susurrus of leaves, that will save it from this unknown emptiness. People want silence, but not that much. | แนวทางหลักของยุคนี้ อย่างน้อยก็ในโลกพัฒนาแล้ว คือการที่ผู้คนต่างไขว่คว้าหาความเงียบและไม่มีใครค้นเจอ เสียงคำรามของการจราจร เสียงโทรศัพท์ เสียงประกาศในรถเมล์และรถไฟสลับกันร้องระงมไม่มีหยุด ทั้งการประโคมเสียงโทรทัศน์ในห้องทำงานที่ว่างเปล่า ต่างเป็นพลังเเบตเตอร์รี่และสิ่งรบกวนที่ไม่มีวันสิ้นสุด มนุษยชาติหมดพลังไปกับเสียงจึงโหยหาสิ่งที่อยู่ตรงกันข้าม- ไม่ว่าจะเป็นในพงไพร เหนือท้องทะเลหรือเพียงแค่สถานที่สงบเงียบใดก็ได้ที่มีความนิ่งและให้สมาธิ Alain Corbin อาจารย์วิชาประวัติศาสตร์ท่านหนึ่ง ได้เขียนไว้เมื่อตอนที่เขาหนีไปพักอยู่ที่ Sorbonne และ Erling Kagge นักผจญภัยชาวนอร์เวย์ เขียนจากความทรงจำเรื่องขยะในแอนตาร์กติก ที่ที่ทั้งสองพยายามหนีออกมา อย่างไรก็ดี ดังที่่คุณ Corbin ชี้ประเด็นออกมาใน "ประวัติศาสตร์แห่งความเงียบงัน"ว่า มันคงไม่ได้มีเสียงมากขึ้นไปกว่าที่เคยมี ก่อนจะมียางรถยนต์ ถนนหลากสายในเมืองยังเต็มไปด้วยเสียงดังแกล๊งๆ แสบหู จากล้อเลื่อนขอบเหล็กและเกือกม้าเมื่อมันเหยียบบนพื้นหิน ก่อนจะเกิดการปลีกวิเวกแบบจงใจโดยใช้มือถือ รถเมล์และรถไฟก็ส่งเสียงดังเหมือนคุยกัน คนขายหนังสือพิมพ์ไม่ได้กองหนังสือไว้เงียบๆ แต่ตะโกนสุดเสียงเรียกลูกค้า เช่นกันกับคนขายเชอร์รี่ ต้นไวโอเล็ตและปลาเเมคเคอเรลสดที่ดังไม่แพ้กัน โรงละครและโอเปร่าคือศูนย์รวมความอลหม่านของเสียงร้องตะโกนเชียร์ แม้แต่ตามชนบท ชาวไร่ชาวนาก็ร้องเพลงขณะทำงานจำเจของตัวเองไป ตอนนี้พวกเขาไม่ร้องเเล้ว สิ่งที่เปลี่ยนไม่ใช่ระดับของเสียงซักเท่าไหร่นัก ซึ่งเป็นสิ่งที่บ่นกันมาหลายศตวรรษแล้ว แต่คือระดับการรบกวน ซึงมาจับจองพื้นที่ที่ความเงียบอาจจะเข้ามายุ่มย่ามได้ แล้วเราก็เริ่มเห็นคำพูดซึ่งขัดแย้งกันเองขึ้นมาลางๆ เพราะเมื่อความเงียบทะลวงเข้ามาได้ -ในรูปแบบการอยู่ในป่าต้นสนลึก ในทะเลทรายอันว่างเปล่า หรือในห้องโล่ง-มันมักจะกลับทำให้ประสาทเสียแทนที่จะรู้สึกดี ความกลัวคืบคลานเข้ามา ประสาทการได้ยินก็เร็วขึ้นตามสัญชาติญาณ ไม่ว่าเสียงไฟปะทุเบาๆ นกร้องหรือลมพัดใบไม้ ก็ได้ยิน เพื่อไม่ให้รู้สึกถึงความเงียบที่ว่างเปล่า ผู้คนอยากได้ความเงียบ แต่ไม่ต้องเงียบขนาดนั้น |